กรมส่งเสริมวัฒนธรรม
เว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้
font size small font size normal font size big
หน้าแรก
Search


หน้าหลัก >> วัฒนธรรมประเพณี
วัฒนธรรมประเพณี
ความลับ.....ที่มาของหอยสังข์ในพิธีหลั่งน้ำสังข์ให้กับคู่บ่าวสาววันแต่งงาน
๕ ความเชื่อเกี่ยวกับประเพณีบุญบั้งไฟ
อานิสงส์ ๕ ประการของการฟังธรรมที่ชาวพุทธควรรู้
๓ สิ่งอัศจรรย์ที่เกิดพร้อมกันใน “วันวิสาขบูชา”
พญาคันคากเป็นใคร ????? เกี่ยวข้องอะไรกับประเพณีบุญบั้งไฟของชาวอีสาน
เมื่อดอกลำดวนบาน....วันผู้สูงอายุ
ยุคนี้ผู้ช่วยสุดเจ๋ง Work From Home คืออะไร
กัณฑ์หลอน คืออะไร...
ความเชื่อเรื่องพระอุปคุตกับงานบุญผะเหวด
“รัตนสูตร” สร้างพลังใจ เรียกสติ พิชิตโรคร้าย
บุญเดือนสี่...ประเพณีบุญผะเหวดและเทศน์มหาชาติ
“เจริญสติ สร้างภูมิคุ้มใจ ห่างไกลโรคระบาด ”
หมู่บ้านหัตถกรรมตีมีด พิพิธภัณฑ์มีชีวิตแห่งบ้านอรัญญิก
อานิสงส์การฟังเทศน์มหาชาติ
ดอนปู่ตา พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์แห่งหมู่บ้านอีสาน
พะขะจ้ำ...ผู้สื่อสารกับผี สังคมไทยมีความเชื่อเรื่องผี สิ่งลี้ลับ มาเนิ่นนาน และผียังอยู่ใกล้ชิดกับการดำเนินชีวิตของผู้คน ชาวอีสานเชื่อว่ามีผีบ้าน ผีเรือน ผีบรรพบุรุษ ผีปู่ตา คอยปกปักรักษาลูกหลาน ในการสร้างชุมชนชาวอีสานจะมีการสร้างตูบเพื่อเป็นศาลปู่ตาประจำหมู่บ้าน โดยมีพะขะจ้ำช่วยทำหน้าที่สื่อสารบอกกล่าวกับผีปู่ตา มาทำความรู้จักกับพะขะจ้ำ เขาคือใคร ตำแหน่งนี้เลือกสรรอย่างไร และพื้นที่ดอนปู่ตาสัมพันธ์กับความเป็นอยู่ของชุมชนเช่นไร
‘ซ่าหริ่ม ขนมโบราณ หวานดี มีประโยชน์’
รถอีแต๋น แรงบันดาลใจจากท้องทุ่งกสิกรรม
รถอีแต๋น ชื่อเก๋ ๆ นี้มาจากไหน จาก “ควายเทียม” มาสู่ อีโก่ง อีตั๊ก อีแต๊ก จนกลายมาเป็น “อีแต๋น” พาหนะคู่ใจเกษตรกรไทย พัฒนาการที่ปรับเปลี่ยนตามประโยชน์ใช้สอยและความสะดวกสบาย การมาถึงของเครื่องยนต์ขนาดเล็กถูกนำมาใช้แทนควาย ซึ่งเรียกกันติดปากว่า รถไถ บางทีก็เรียก อีโก่ง เมื่อความนิยมของรถไถเพิ่มมากขึ้น จึงมีการเพิ่มส่วนพ่วงลากที่ติดล้อแบบรถยนต์สมัยใหม่เข้าไป แต่ตัวกระบะยังคงเป็นไม้เช่นเดิม และค่อย ๆ เพิ่มความสะดวกขึ้น จนกลายมาเป็นรถอีแต๋น รถบรรทุกเกษตรขนาดเล็กอย่างที่เราเห็นกันจนคุ้นชินตา “อีแต๋น” มาจากคำว่า “สะแหล๋นแต๋น” มีความหมายว่าเลิศเลอ ด้วยความที่รถทางการเกษตรถูกปรับเปลี่ยนโครงสร้างให้คล้ายรถยนต์ มีพวงมาลัย ระบบเบรก ระบบเกียร์ มีหลังคา และสีสันสวยงาม สามารถล่นด้วยความเร็วมากขึ้น ด้วยความเลอเลิศกว่าใครในท้องทุ่งซึ่งพ้องกับคำว่า “สะแหล๋นแต๋น” จึงเป็นที่มาของนาม “อีแต๋น”
ท่องเที่ยวชุมชน บนเส้นทางเรียนรู้
ได้เวลาออกเดินทาง ไปเที่ยววิถีถิ่น ชมวิถีไทย กับ ๕ ชุมชนที่คุณจะหลงรัก -เยือนวิถีคนไต ชาวไทใหญ่แห่งบ้านต่อแพ จ.แม่ฮ่องสอน -ออนซอนอีสาน เขมราฐนาแวง เจียด จ.อุบลราชธานี -บ้านน้ำเชี่ยว เที่ยวเพลิน ๆ จ.ตราด -เที่ยวสวนสมรม ชุมชนพรหมโลก จ.นครศรีธรรมราช -ชุมชนคลองแดน ดินแดน “สามคลอง สองเมือง” จ.สงขลา เก็บกระเป๋าเตรียมตัว เตรียมใจไปพบกับประสบการณ์การท่องเที่ยวชุมชน ที่มีเสน่ห์ อิ่มเอมกับบรรยากาศ ผู้คน อาหาร และวัฒนธรรมท้องถิ่น พร้อมแล้วขึ้นเหนือล่องใต้กันเลย
ตีโพน เมืองพัทลุง วิถีแห่งกลองท้องถิ่นใต้
การแข่งขันที่พิสูจน์ถึงความทรงพลังของเสียง ระยะห่างกว่า ๑๕๐ เมตร ของผู้เข้าชิงชัยกับโพนคู่ใจและกรรมการตัดสิน หากฝีมือการตีและโพนไม่ดีจริง เสียงกลองย่อมดังไปไม่ถึง การแข่งโพนจึงต้องอาศัยทั้งความชำนาญของผู้ตี และความเชี่ยวชาญในการผลิตกลองโพน ที่ต้องใช้ภูมิปัญญา การคิดคำนวณ และวัสดุที่เหมาะสม ตามไปดูกันว่าเขาทำกันอย่างไร เสียงโพนดี ๆ ลูกหนึ่งจึงสามารถดังไกลไปได้หลายกิโลเมตร
สุธน มโนราห์ หนทางพิสูจน์รัก กาลเวลาพิสูจน์คุณค่า

หน้า : << ก่อนหน้า 1 2 3 4 [5] 6 7 8 9 ถัดไป>>
ลิขสิทธิ์ของ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม สำหรับใช้ประโยชน์เพื่อเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมและการศึกษา
นโยบายเว็บไซต์ | นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล | นโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของเว็บไซต์ | การปฏิเสธความรับผิด (Disclaimer)