กรมส่งเสริมวัฒนธรรม
เว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้
font size small font size normal font size big
หน้าแรก
Search


หน้าหลัก >> บทความ
บทความ
‘ซ่าหริ่ม ขนมโบราณ หวานดี มีประโยชน์’
มานิ (ซาไก) ลมหายใจในผืนป่า
รถอีแต๋น แรงบันดาลใจจากท้องทุ่งกสิกรรม
รถอีแต๋น ชื่อเก๋ ๆ นี้มาจากไหน จาก “ควายเทียม” มาสู่ อีโก่ง อีตั๊ก อีแต๊ก จนกลายมาเป็น “อีแต๋น” พาหนะคู่ใจเกษตรกรไทย พัฒนาการที่ปรับเปลี่ยนตามประโยชน์ใช้สอยและความสะดวกสบาย การมาถึงของเครื่องยนต์ขนาดเล็กถูกนำมาใช้แทนควาย ซึ่งเรียกกันติดปากว่า รถไถ บางทีก็เรียก อีโก่ง เมื่อความนิยมของรถไถเพิ่มมากขึ้น จึงมีการเพิ่มส่วนพ่วงลากที่ติดล้อแบบรถยนต์สมัยใหม่เข้าไป แต่ตัวกระบะยังคงเป็นไม้เช่นเดิม และค่อย ๆ เพิ่มความสะดวกขึ้น จนกลายมาเป็นรถอีแต๋น รถบรรทุกเกษตรขนาดเล็กอย่างที่เราเห็นกันจนคุ้นชินตา “อีแต๋น” มาจากคำว่า “สะแหล๋นแต๋น” มีความหมายว่าเลิศเลอ ด้วยความที่รถทางการเกษตรถูกปรับเปลี่ยนโครงสร้างให้คล้ายรถยนต์ มีพวงมาลัย ระบบเบรก ระบบเกียร์ มีหลังคา และสีสันสวยงาม สามารถล่นด้วยความเร็วมากขึ้น ด้วยความเลอเลิศกว่าใครในท้องทุ่งซึ่งพ้องกับคำว่า “สะแหล๋นแต๋น” จึงเป็นที่มาของนาม “อีแต๋น”
ท่องเที่ยวชุมชน บนเส้นทางเรียนรู้
ได้เวลาออกเดินทาง ไปเที่ยววิถีถิ่น ชมวิถีไทย กับ ๕ ชุมชนที่คุณจะหลงรัก -เยือนวิถีคนไต ชาวไทใหญ่แห่งบ้านต่อแพ จ.แม่ฮ่องสอน -ออนซอนอีสาน เขมราฐนาแวง เจียด จ.อุบลราชธานี -บ้านน้ำเชี่ยว เที่ยวเพลิน ๆ จ.ตราด -เที่ยวสวนสมรม ชุมชนพรหมโลก จ.นครศรีธรรมราช -ชุมชนคลองแดน ดินแดน “สามคลอง สองเมือง” จ.สงขลา เก็บกระเป๋าเตรียมตัว เตรียมใจไปพบกับประสบการณ์การท่องเที่ยวชุมชน ที่มีเสน่ห์ อิ่มเอมกับบรรยากาศ ผู้คน อาหาร และวัฒนธรรมท้องถิ่น พร้อมแล้วขึ้นเหนือล่องใต้กันเลย
นกหัสดีลิงค์
ตีโพน เมืองพัทลุง วิถีแห่งกลองท้องถิ่นใต้
การแข่งขันที่พิสูจน์ถึงความทรงพลังของเสียง ระยะห่างกว่า ๑๕๐ เมตร ของผู้เข้าชิงชัยกับโพนคู่ใจและกรรมการตัดสิน หากฝีมือการตีและโพนไม่ดีจริง เสียงกลองย่อมดังไปไม่ถึง การแข่งโพนจึงต้องอาศัยทั้งความชำนาญของผู้ตี และความเชี่ยวชาญในการผลิตกลองโพน ที่ต้องใช้ภูมิปัญญา การคิดคำนวณ และวัสดุที่เหมาะสม ตามไปดูกันว่าเขาทำกันอย่างไร เสียงโพนดี ๆ ลูกหนึ่งจึงสามารถดังไกลไปได้หลายกิโลเมตร
๒๔ กุมภาพันธ์ วันศิลปินแห่งชาติ
พญานาค กำเนิดแม่น้ำโขง
สุธน มโนราห์ หนทางพิสูจน์รัก กาลเวลาพิสูจน์คุณค่า
แพรวา...เส้นสายลายผ้าสะท้อนตัวตน
สีสันในเลื่อมลายของผ้าไหมผืนสวยค่อยเผยความงดงามปรากฏตรงหน้า มันถูกห่มเป็นผ้าเบี่ยงผืนสวยขณะแม่เฒ่านบประณมสองมือขึ้นไหว้พระ เธอและลูกหลานล้วนยึดถือเชื่อมั่นกันว่าผ้าทอที่บรรจงจกลายขึ้นอย่างประณีตนั้น ยามที่ได้ใช้สวมใส่ในงานบุญประเพณีหรือเทศกาลต่าง ๆ ไม่เพียงแต่ความงดงามเป็นเอกลักษณ์ หากแต่ยังเปี่ยมไปด้วยความหมายและคุณค่าที่สืบทอดต่อเนื่องมาจากบรรพบุรุษ
สะล้อ ซอ ปิน ดนตรีพื้นบ้านเมืองน่าน
บาแก็ต การเดินทางของขนมปังแท่งยาว
เล่าสู่กันฟัง...เรื่อง “มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม” มิใช่ “มรดกโลก”
เล่าสู่กันฟัง...เรื่อง “มรดกโลก” คืออะไร
หัวใจสำคัญของพระพุทธศาสนา
อะไรเอ่ย ชื่อเป็นเส้น มาจากมอญ
พล.ต.อ. วสิษฐ เดชกุญชร นายตำรวจผู้ตงฉินและศิลปินอาชญนิยาย
พล.ต.อ. วสิษฐ เดชกุญชร ผู้สะท้อนพฤติกรรมมนุษย์และความสำนึกทางสังคมผ่านวรรณศิลป์อย่างมีชั้นเชิง
เล่าสู่กันฟัง...เรื่อง "หนู"
พ่อครู บุญศรี รัตนัง ศิลปินแห่งชาติ สาขาการแสดง (ดนตรีพื้นบ้านล้านนา)
“บุญศรี รัตนัง” ครูผู้สืบสาน ต่อยอด ให้ดนตรีพื้นบ้านล้านนาไม่สูญหายไปตามกระแส
หอศิลป์เอมเจริญ รุ้งทองแห่งงานศิลป์อันทรงพลังบนผืนผ้าใบ
แวะหอศิลป์เอมเจริญ ยลจิตรกรรมล้ำค่า ณ ริมโค้งแม่น้ำแม่กลอง

หน้า : << ก่อนหน้า 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 [24] 25 26 27 28 29 30 31 ถัดไป>>
ลิขสิทธิ์ของ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม สำหรับใช้ประโยชน์เพื่อเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมและการศึกษา
นโยบายเว็บไซต์ | นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล | นโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของเว็บไซต์ | การปฏิเสธความรับผิด (Disclaimer)